top of page

ทดลองต่อวงจร

 

วงจรที่ทดลองที่ 1

วงจรที่ทดลองที่ 2

โดยใช้โปรเเกรม Multisim เเละ ของจริง วงจรที่1

วงจรที่1.1 ทดลองต่อไดโอดเข้ากับหม้อเเปลง เเละใช้oscilloscopeวัดเทียบโหลด 

วงจรที่1.2 ทดลองต่อไดโอดเข้ากับหม้อเเปลง เเละใช้oscilloscopeวัดเทียบโหลด โดยมีตัวเก็บประจุค่า 22uF ต่อขนาดกับโหลด 

วงจรที่1.3 ทดลองต่อไดโอดเข้ากับหม้อเเปลง เเละใช้oscilloscopeวัดเทียบโหลดโดยมีตัวเก็บประจุค่า 470uF ต่อขนาดกับโหลด  

โดยใช้โปรเเกรม Multisim เเละ ของจริง วงจรที่2

วงจรที่2.1 ทดลองต่อไดโอดเข้ากับหม้อเเปลง เเละใช้oscilloscopeวัดเทียบโหลด 

วงจรที่2.2 ทดลองต่อไดโอดเข้ากับหม้อเเปลง เเละใช้oscilloscopeวัดเทียบโหลดโดยมีตัวเก็บประจุค่า 22uF ต่อขนาดกับโหลด  

วงจรที่2.3 ทดลองต่อไดโอดเข้ากับหม้อเเปลง เเละใช้oscilloscopeวัดเทียบโหลดโดยมีตัวเก็บประจุค่า 470uF ต่อขนาดกับโหลด  

การทดลองจริง

สรุปผลการทดลองทั้งหมด

                         จากการทดลองวงจร    จะพบว่าวงจรที่ไม่ได้ต่อคาปาซิเตอร์ รูปคลื่นที่ออกมาจะมีบางช่วงของรูปคลื่นขาดหายไปไม่เรียบสนิท เเต่เมื่อเราต่อคาปาซิเตอร์ขนานกับโหลดเข้าไป จะพบว่ารูปคลื่นที่ออกมาเรียบขึ่นเเละถ้ายิ่งต่อคาปาซิเตอร์ค่ามากๆรูปคลื่นที่ออกมากจะเรียบขึ่นเรื่อยๆดั่งตัวอย่างที่ทดลองใส่คาปาซิเตอร์ทั้ง2ค่า

การหาค่าคาปาซิเตอร์ใน วงจรBridge rectifier

วงจรกรอง(Smoothing)

              การกรองเกิดขึ้นโดยการต่อ อิเล็กโตรไลติก คาปาซิเตอร์ ค่าสูงคร่อมไฟกระแสตรง ทำหน้าที่เหมือนบ่อเก็บน้ำ, ป้อนกระแสให้เอาท์พุทเมื่อแรงดันกระแสสลับจากวงจรกรองกระแสตกลง  แผนภาพ
แสดงให้เห็นไฟกระแสตรงที่ยังไม่กรอง(เส้นประ) และไฟกระแสตรงที่กรองแล้ว(เส้นทึบ)   คาปาซิเตอร์ประจุเร็วที่ใกล้ยอดของไฟกระแสตรงและคลายประจุป้อนกระแสให้เอาท์พุท

              โปรดสังเกตว่าการกรองทำให้แรงดันกระแสตรงเพิ่มขึ้นถึงค่ายอด(1.4 × RMS )   ตัวอย่างเช่นไฟกระแสสลับ 6V RMS เมื่อถูกเรียงกระแสแบบเต็มคลื่นจะได้ไฟกระแสตรงประมาณ 4.6V RMS (สูญเสียที่ไดโอดบริดจ์เรียงกระแส1.4V), เมื่อผ่านวงจรกรองจะเพิ่มเป็นค่ายอดเท่ากับ 1.4 × 4.6 = 6.4V (DC)

              การกรองไม่เรียบสมบูรณ์เพราะแรงดันของตัวเก็บประจุตกเล็กน้อยตอนคลายประจุ จึงเกิดแรงดันพริ้ว(ripple)เล็กน้อย  สำหรับวงจรโดยส่วนมากแหล่งจ่ายไฟที่มีแรงดันพริ้ว10% ก็ใช้ได้แล้ว ค่าของตัวเก็บประจุสำหรับการกรองหาได้จากสมการข้างล่าง  หากตัวเก็บประจุใหญ่พริ้วก็จะน้อย สำหรับไฟกระแสตรงแบบครึ่งคลื่นตัวกรองต้องใช้ตัวเก็บประจุค่าสูงเป็นสองเท่า 

 

 

 

 

          Io  = กระแสออกจากแหล่งจ่ายไฟ
         Vs  = แรงดันแหล่งจ่าย (ค่ายอดของไฟDCที่ยังไม่กรอง)
          f    = ความถี่ของไฟ AC แหล่งจ่าย (50Hz)

 

แรงดันไฟกระเพื่อม (RIPPLE VOLTAGE)

                 แรงดันไฟตรงที่ ผานการเรียงกระแสและฟลเตอรแลว จะยังไมเรียบเหมือนแรงดันจากแบตเตอร ี่ จะมีบางสวนที่ยังไมเรียบปนอยูดวย ทําใหแรงดันไฟตรงที่ไดจากเรียงกระแสและฟลเตอรมีสวนประกอบอยู 2 สวน คือ สวนของแรงดันไฟตรง (DC VOLTAGE) และแรงดันไฟกระเพื่อม (RIPPLE VOLTAGE) แสดงดังรูป

                     จากรูปเปนการแสดงสวนประกอบของแรงดันไฟตรงจากวงจรแปลงไฟสลับเปนไฟตรง ซึ่งผานวงจรฟิลเตอรแลว แรงดันไฟตรงที่วัดไดออกมา จะมีสวนของแรงดันไฟกระเพื่อมรวมอยูดวย แรงดันไฟตรงเฉลี่ย หาไดจาก แรงดันไฟกระเพื่อมที่วัดไดในระดับสูงสุด รวมกับแรงดันไฟกระเพื่อมที่วัดไดในระดับต่ำสุดหารดวย 2 แรงดันไฟตรงที่ไดออกเรียกวา VDC หรือ DC COMPONENT

 

 

 

 

 

 

                     คาแรงดันไฟกระเพื่อม จะถูกบอกไวในรูปของเปอรเซนตเรียกวาริพเปลแฟกเตอร (RIPPLE FACTOR)

 

 

 

 

 

 

 

 

bottom of page